คลังคำตอบ(หมวดหมู่:قرآن)
-
ชาวสวรรค์และชาวนรกมีอายุราวๆกี่ปี?
15946 2555/02/19 การตีความ (ตัฟซีร)ความเปลี่ยนแปลงทางสรีระตามอายุขัยถือเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโลกนี้ ทว่าในโลกหน้าโดยเฉพาะในสวรรค์ เราไม่อาจจะมโนภาพว่ามนุษย์จะมีรูปร่างหน้าตาที่แตกต่างกันในลักษณะที่บางกลุ่มเป็นเด็ก บางกลุ่มอยู่ในวัย
-
โองการ اخْلُفْنِی فِی قَوْمِی وَأَصْلِحْ وَلَا تَتَّبِعْ سَبِیلَ الْمُفْسِدِینَ กล่าวโดยผู้ใด และปรารภกับผู้ใด?
6547 2555/02/19 การตีความ (ตัฟซีร)โองการที่ถามมานั้น กล่าวถึงคำสั่งของท่านนบีมูซา ( อ. ) ที่มีแด่ท่านนบีฮารูน ( อ. ) ขณะกำลังจะเดินทางจากชนเผ่าของท่านไป ทั้งนี้เนื่องจากการแต่งตั้งตัวแทนจะกระทำในยามที่บุคคลกำลังจะลาจากกัน เมื่อท่านนบี
-
เหตุใดโองการที่สาม ซูเราะฮ์อัลอินซานที่ว่า اما شاکرا و اما کفورا กล่าวถึงการขอบคุณในรูปของอิสมุ้ลฟาอิ้ล แต่ในส่วนของการปฏิเสธกลับใช้ในรูปของศีเฆาะฮ์ มุบาละเฆาะฮ์
10123 2555/02/18 การตีความ (ตัฟซีร)คำว่า “ชากิร” เป็นอิสมุ้ลฟาอิ้ลจากรากศัพท์ “ชุกร์” และ กะฟู้ร เป็นศีเฆาะฮ์ มุบาละเฆาะฮ์จากรากศัพท์ “กุฟร์” เหตุที่คำหนึ่งใช้ในรูปอิสมุ้ลฟาอิ้ล และอีกคำหนึ่งใช้ในรูปศีเฆาะฮ์ มุบาละเฆาะฮ์นั้น นักอรรถาธิ
-
วจนะอันหนักอึ้งในโองการ إِنَّا سَنُلْقِی عَلَیْکَ قَوْلاً ثَقِیلاً (อัลมุซซัมมิล: 5) หมายถึงอะไร?
8881 2555/02/18 การตีความ (ตัฟซีร)วจนะอันหนักอึ้งในโองการ انا سنلقی علیک قولا ثقیلا หมายถึงกุรอาน แม้ว่านักอรรถาธิบายจะตีความคำว่าวจนะอันหนักอึ้งแตกต่างกันไปตามแต่ละแง่มุมของโองการ แต่สันนิษฐานว่าความเป็นวจนะอันหนักอึ้ง ( อันหมายถึงกุ
-
เหตุใดในโองการที่สอง ซูเราะฮ์มุฮัมมัด وَ الَّذِینَ ءَامَنُواْ وَ عَمِلُواْ الصَّالِحَاتِ وَ ءَامَنُواْ بِمَا نُزِّلَ عَلىَ محُمَّدٍ وَ... มีการเอ่ยนามของท่านนบี ขณะที่โองการอื่นๆไม่มี?
8737 2555/02/18 การตีความ (ตัฟซีร)เหตุผลที่มีการเอ่ยนามอันจำเริญของท่านนบี ( ซ.ล. ) ไว้ในโองการที่กล่าวมาก็เพื่อแสดงถึงความสำคัญของประโยคนี้ในโองการ ทั้งนี้ อัลลอฮ์ทรงประสงค์จะเทิดเกียรติท่านนบี ( ซ.ล. ) ด้วยการเอ่ยนามท่าน นักอรรถาธิบ
-
โองการที่ 144 ซูเราะฮ์อาลิอิมรอนบ่งบอกว่าท่านนบี(ซ.ล.)เป็นชะฮีดหรือไม่?
9880 2555/02/18 การตีความ (ตัฟซีร)ขณะที่เกิดข่าวลือในหมู่มุสลิมขณะทำสงครามอุฮุดว่าท่านนบีถูกสังหารแล้ว อันทำให้มุสลิมบางส่วนถอนตัวจากสงคราม ถึงขั้นที่บางคนหวังจะขอประนีประนอมกับพวกศัตรูและยอมออกจากศาสนาอิสลาม ในสถานการณ์ดังกล่าว โองกา
-
โองการ وَ یُطْعِمُونَ الطَّعامَ عَلى حُبِّهِ مِسْکیناً وَ یَتیماً وَ أَسیراً ประทานลงมาในช่วงเวลาใด?
7011 2555/02/18 การตีความ (ตัฟซีร)นักประวัติศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญฮะดีษ และนักอรรถาธิบายกุรอานจากสายชีอะฮ์และซุนหนี่ต่างเห็นพ้องกันว่า บางโองการของซูเราะฮ์ อัลอินซาน อาทิเช่น و یطعمون الطعام... ประทานลงมาในกรณีของวงศ์วานของท่านนบี ( ซ.ล.
-
เป็นไปได้หรือไม่ที่สังคมคนบาปจะรอดพ้นหรือได้รับการชลออะซาบเนื่องจากมีคนดีอาศัยอยู่ไม่กี่คน?
6351 2555/02/18 การตีความ (ตัฟซีร)กุรอานและฮะดีษสอนว่า มีปัจจัยบางประการที่ช่วยชลอหรือขจัดปัดเป่าอะซาบให้พ้นจากสังคม ในที่นี้ขอหยิบยกมานำเสนอบางประการดังต่อไปนี้:หนึ่ง. การที่สังคมยังมีท่านนบี หรือผู้ขออภัยโทษอาศัยอยู่: و ما کان الله
-
ในอายะฮ์ที่ได้กล่าวว่า "فَمَنِ اعْتَدَى بَعْدَ ذَلِکَ فَلَهُ عَذَابٌ أَلِیمٌ"، คำว่า “ฟะมะนิอ์ตะดา” หมายถึงอะไร และสาเหตุใดจึงมีการเตือนว่าจะลงโทษ?
8934 2555/02/18 การตีความ (ตัฟซีร)ข้อบังคับประการหนึ่งในพิธีฮัจญ์และอุมเราะฮ์ก็คือ ห้ามล่าสัตว์ในขณะที่ครองอิฮ์รอม ซึ่งอายะฮ์ที่ 94-96 ซูเราะฮ์อัลมาอิดะฮ์ก็ได้กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้ กล่าวคือ ห้ามมิให้ล่าสัตว์ทะเลทรายและสัตว์น้ำในขณะที่
-
มีคำอธิบายอย่างไรเกี่ยวกับโองการที่ ซูเราะฮ์เราะอ์ด وَ لَوْ أَنَّ قُرْآناً سُیِّرَتْ بِهِ الْجِبالُ أَوْ قُطِّعَتْ بِهِ الْأَرْضُ أَوْ کُلِّمَ بِهِ الْمَوْتى بَلْ لِلَّهِ الْأَمْرُ جَمیعا
8401 2555/02/18 การตีความ (ตัฟซีร)ในประเด็นที่ว่าโองการ و لو ان قرانا سیرت به الجبال او قطعت به الارض... หมายความว่าอย่างไรนั้น นักอรรถาธิบายกุรอานได้นำเสนอไว้สองทัศนะด้วยกัน1. โองการต้องการจะสื่อว่า หากจะมีตำราใดที่จะสามารถเคลื่อนย้า
-
ในเมื่อไม่สามารถมองเห็นพระองค์ได้ แล้วคำว่า لَّمَحْجُوبُونَ หมายถึงอะไร?
7493 2555/02/08 การตีความ (ตัฟซีร)คำว่า “ฮิญาบ” ( สิ่งปิดกั้น ) มิได้สื่อถึงความหมายเชิงรูปธรรมเพียงอย่างเดียว ทั้งนี้ก็เพราะเหตุผลทางปัญญาและกุรอาน, ฮะดีษพิสูจน์แล้วว่าอัลลอฮ์มิไช่วัตถุธาตุ [ 1 ] ฉะนั้น ฮิญาบในที่นี้จึงมีความหมายเชิง
-
เหตุใดกุรอานจึงใช้สำนวน فبشّرهم بعذاب الیم ทั้งๆที่คำว่าข่าวดีมีความหมายเชิงบวก?
8073 2555/02/07 การตีความ (ตัฟซีร)กุรอานใช้คำว่า “บิชาเราะฮ์” เพื่อสื่อความหมายถึงทั้งข่าวดีและข่าวร้าย แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับสำนวนแวดล้อมจะกำหนดความหมายใด กุรอานใช้คำว่าบิชาเราะฮ์ในความหมายเชิงลบในลักษณะอุปลักษณ์ เพื่อสื่อว่าไม่มีสิ
-
อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
27884 2555/02/07 การตีความ (ตัฟซีร)ในแวดวงวิชาการ มีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้น บ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวา อีหม่าน และอะมั้ลที่ศอลิห์ จึงควรค่าแก่การเน้นย้ำอย
-
ในอายะฮ์ "وَمَنْ عَادَ فَینتَقِمُ اللّهُ مِنْهُ وَاللّهُ عَزِیزٌ ذُو انْتِقَامٍ"، สาเหตุของการชำระโทษคืออะไร
7045 2555/02/05 การตีความ (ตัฟซีร)อายะฮ์ที่ได้ยกมาในคำถามข้างต้นนั้น เป็นอายะฮ์ที่ถัดจากอายะฮ์ก่อนๆ ในซูเราะฮ์อัลมาอิดะฮ์ ซึ่งมีเนื้อหาว่าการล่าสัตว์ขณะที่กำลังครองอิฮ์รอมถือเป็นสิ่งต้องห้าม ในที่นี่อัลลอฮ์ ( ซ.บ. ) ได้กล่าวว่า ผู้ใดท
-
ทัศนะอิสลามเกี่ยวกับการทำสงครามในเดือนต้องห้ามคืออะไร?
12052 2554/12/20 การตีความ (ตัฟซีร)บนพื้นฐานของโองการและรายงานต่างๆ ของเรา, จะพบว่าอิสลามมิได้เพียงแค่ห้าม การทำสงครามกันเฉพาะในเดือนต้องห้าม ( ซุลเกาะดะฮฺ, ซุลฮิจญะฮฺ, มุฮัรรอม, และเราะญับ ) เท่านั้น ทว่ายังได้มีบทลงโทษอันแสนสาหัสได้อ
-
ฮะดีษนี้น่าเชื่อถือหรือไม่? : "เราได้บันดาลให้อลี(อ.)ลูกเขยของเจ้า(นบี)ได้รับการบันทึกไว้ในซูเราะฮ์อินชิร้อห์"
7353 2554/11/09 การตีความ (ตัฟซีร)เราไม่พบฮะดีษใดๆที่มีเนื้อหาเช่นนี้ อย่างไรก็ดี ในตำราตัฟซี้รเชิงฮะดีษ มีฮะดีษหลายบทที่อรรถาธิบายโองการ فاذا فرغت فانصب والی ربک فارغب ว่า เมื่อเจ้า ( นบี ) ปฏิบัติภารกิจศาสนทูตลุล่วงแล้ว ก็จงแต่งตั้ง
-
การที่กล่าวว่า อัลลอฮฺทรงลืมปวงบ่าวบางคนของพระองค์หมายความว่าอย่างไร?
6817 2554/10/22 การตีความ (ตัฟซีร)อัลลอฮฺ ( ซบ. ) ตรัสไว้ในอัลกุรอาน, ถึง 4 ครั้งด้วยกันเกี่ยวกับการลืมของปวงบ่าว โดยสัมพันธ์ไปยังพระองค์ ดังเช่น โองการหนึ่งกล่าวว่า : วันนี้เราได้ลืมพวกเขา ดังที่พวกเขาได้ลืมการพบกันในวันนี้” โองการข้
-
ตามทัศนะของอัลกุรอาน, มนุษย์คือสิ่งมีอยู่ที่โง่เขลากดขี่,หรือว่าเป็นเคาะลีฟะตุลลอฮฺ?
9327 2554/10/22 การตีความ (ตัฟซีร)1.ด้านหนึ่งอัลกุรอานได้ให้นิยามเกี่ยวกับตำแหน่งและฐานะภาพอันสูงส่งของมนุษย์เอาไว้, และอีกด้านหนึ่งโองการจำนวนมาก,ได้กล่าวประณามและดูหมิ่นมนุษย์เอาไว้เช่นกัน.2.การเคลื่อนไหวของมนุษย์มี 2 ลักษณะกล่าวคือ
-
สระน้ำเกาษัรคืออะไร?
13951 2554/10/22 การตีความ (ตัฟซีร)“เกาษัร” หมายถึงความดีจำนวนมากมายและมหาศาล หรือตัวอย่างหลายกรณีสามารถกล่าวเพื่อสิ่งนั้นได้ เช่น : สระน้ำ และแม่น้ำเกาษัร, ชะฟาอัต, นบูวัต, วิทยปัญญา, ความรู้, ลูกหลานจำนวนมากมาย, ทายาทมาก และ ...เกาษั
-
อัลลอฮฺ ทรงพึงพอพระทัยผู้ใด? บุคคลใดที่พระองค์ทรงพึงพอพระทัย, ผู้นั้นจะได้เป็นเจ้าของสรวงสวรรค์แห่งความโปรดปรานหรือ? ถ้าเป็นเช่นนั้นแล้ว โองการที่ 28 บทอันบิยาอฺที่กล่าวว่า : และพวกเขาจะมิให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ใด, นอกจากผู้ที่พระองค์ทรงพอพระทัย จะไม่ขัดแย้งกันดอกหรือ? อีกนัยหนึ่ง : เจ้าของสรวงสวรรค์แห่งความพึงพอพระทัย จะเข้ากันได้อย่างไรกับชะฟาอะฮฺ?
9565 2554/10/22 การตีความ (ตัฟซีร)อัลลอฮฺ ( ซบ. ) ทรงพึงพอพระทัยบุคคลที่มีศรัทธาและพึงปฏิบัติคุณงามความดี, เพียงแต่ว่าความศรัทธาและคุณงามความดีนั้นมีทั้งเข้มแข็งมั่นคงและอ่อนแอ อีกทั้งมีระดับชั้นที่แตกต่างกันออกไป, ความพึงพอพระทัยของอ
-
จะให้นิยามและพิสูจน์ปาฏิหาริย์ได้อย่างไร?
8587 2554/10/22 วิทยาการกุรอานอิอฺญาซ หมายถึงภารกิจที่เหนือความสามารถของมนุษย์บุถุชนธรรมดา อีกด้านหนึ่งเป็นการท้าทาย และเป็นภารกิจที่ตรงกับคำกล่าวอ้างตนของผู้ที่อ้างตนเองว่าเป็นผู้แสดงปาฏิหาริย์นั้น การกระทำที่เหนือความสามารถหมายถ
-
ในทัศนะอิสลามอนุญาตให้ซัจญฺดะฮฺและแสดงการตะอฺซีมหรือไม่ ?
7175 2554/09/25 การตีความ (ตัฟซีร)ในทัศนะอิสลามบนพื้นฐานคำสอนของแนวทางอะฮฺลุลบัยตฺ ( อ. ) ถือว่า การซัจญฺดะฮฺคือ รูปแบบของการอิบาดะฮฺที่สวยงามและสมบูรณ์ที่สุด สำหรับพระผู้อภิบาลเท่านั้น และไม่อนุญาตกระทำกับบุคคลอื่นส่วนการซัจญฺดะฮฺที่
-
เรื่องอุปโลกน์“เฆาะรอนี้ก”มีที่มาที่ไปอย่างไร?
7085 2554/08/03 การตีความ (ตัฟซีร)เรื่องเล่า“เฆาะรอนี้ก”อุปโลกน์ขึ้นโดยผู้ไม่หวังดี ซึ่งหวังจะลดทอนความน่าเชื่อถือของกุรอานและท่านนบี ( ซ.ล. ) ลง เรื่องมีอยู่ว่า “วันหนึ่ง ท่านนบีกำลังอ่านซูเราะฮ์ “อันนัจม์”อยู่ เมื่ออ่านถึงโองการที่ก
-
กรุณาอธิบายเกี่ยวกับฮูรุลอัยน์ และถามว่าจะมีฮูรุลอัยน์เพศชายสำหรับสุภาพสตรีชาวสวรรค์หรือไม่?
11613 2554/07/16 การตีความ (ตัฟซีร)สรวงสวรรค์นับเป็นความโปรดปรานที่พระองค์ทรงมอบเป็นรางวัลสำหรับผู้ศรัทธาและประพฤติดีโดยไม่มีข้อจำกัดทางเพศ จากการยืนยันโดยกุรอานและฮะดีษพบว่า “ฮูรุลอัยน์”คือหนึ่งในผลรางวัลที่อัลลอฮ์ทรงมอบให้ชาวสวรรค์ น
-
อ่านกุรอานซูเราะฮ์ใดจึงจะได้ผลบุญมากที่สุด?
24990 2554/06/28 วิทยาการกุรอานอิสลามถือว่ากุรอานคือครรลองสำหรับการดำเนินชีวิต และเป็นชุดคำสอนที่จะเสริมสร้างจิตวิญญาณมนุษย์ให้สมบูรณ์ หากจะอัญเชิญกุรอานโดยคำนึงเพียงว่าซูเราะฮ์ใดมีผลบุญมากกว่า ก็ย่อมจะสูญเสียบะเราะกัต ( ความศิริมง
-
เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตอยู่บนดาวเคราะห์ดวงอื่น,อิสลามมีทัศนะอย่างไรบ้าง?
12421 2554/06/22 การตีความ (ตัฟซีร)แนวคิดที่ว่ามีสิ่งมีชีวิตอยู่บนเส้นทางช้างเผือกหรือดาวเคราะห์ดวงอื่น หรือมีสิ่งมีสติปัญญาอื่นอยู่อีกหรือไม่, เป็นหนึ่งในคำถามที่มนุษย์เฝ้าติดตามค้นหาคำตอบอยู่จนถึงปัจจุบันนี้, แต่ตราบจนถึงเดี๋ยวนี้ยัง
-
เพราะเหตุใดกอบีลจึงสังหารฮาบีล?
10591 2554/06/22 วิทยาการกุรอานจากโองการอัลกุรอาน เข้าใจได้ว่าสาเหตุที่กอบีล ได้สังหารฮาบีล เนื่องจากมีความอิจฉาริษยา หรือไฟแห่งความอิจฉาได้ลุกโชติช่วงภายในจิตใจของกอบีล และในที่สุดเขาได้สังหารฮาบีลอย่างอธรรม
-
การประทานอัลกุรอานลงมาคราวเดียวและการทยอยประทานลงมาผ่านพ้นไปตั้งแต่เมื่อใด?
18438 2554/04/21 วิทยาการกุรอานการประทานอัลกุรอานในคราวเดียวกันบนจิตใจของท่านศาสดามุฮัมมัด ( ซ็อล ฯ ) ได้เกิดขึ้นเมื่อค่ำคืนแห่งอานุภาพ ( ลัยละตุลก็อดฺร์ ) อันเป็นหนึ่งในค่ำคืนสำคัญยิ่งแห่งเดือนรอมฏอน และเมื่อได้ศึกษารายงานฮะดีซบาง
-
ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
28047 2553/12/22 การตีความ (ตัฟซีร)เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้ เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม ( อ. ) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้ กร
-
วะฮฺยูคืออะไร ประทานลงมาแก่ศาสดาอย่างไร
21161 2553/10/21 อัล-กุรอานวะฮฺยู ( วิวรณ์ ) ในเชิงภาษาความถึง การบ่ชี้อย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจเป็นไปได้ที่เป็นชนิดหนึ่งของคำ หรือเป็นรหัส หรืออาจเป็นเสียงอย่างเดียวปราศจากการผสม หรืออาจเป็นการบ่งชี้และสิ่งที่คล้ายคลึงกัน ความหมายแ
-
การพิสูจน์การเป็นวะฮฺยูของคำและรวบรวมอัลกุรอาน หรือการเป็นวะฮฺยูของการเรียบเรียงตามลำดับของบทและโองการต่างๆ นั้น มีมาตรฐานในการยึดมั่นอัลกุรอานอย่างไร จึงจะมีบทบาทต่อการให้ได้มาซึ่งศาสนบัญญัติ ?
18897 2553/10/21 วิทยาการกุรอานคำถามนี้ไม่มีคำตอบแบบสั้น โปรดเลือกปุ่มคำตอบที่สมบูรณ์
-
เมื่อกล่าวว่าอัลกุรอานมาจากพระเจ้า จุดประสงค์หมายถึงอะไร ? เฉพาะความหมายรวมๆ เท่านั้นที่มาจากพระเจ้า หรือว่าคำก็ถูกประทานจากพระเจ้าด้วยเช่นกัน
8794 2553/10/21 วิทยาการกุรอานตามความเป็นจริงแล้วการที่กล่าวว่า อัลกุรอานมาจากอัลลอฮฺ ได้รับความสนใจเป็นพิเศษในระดับต่างๆ อีกทั้งยังมีความหมายที่ลึกซึ่งและหลากหลาย ซึ่งในแต่ละประเด็นนั้นยังมีความหมายลึกและระเอียดลงไปอีก และในแต่ล
-
อัลกุรอานที่อยู่ในมือของเรา ณ ปัจจุบันนี้ ได้ถูกรวบรวมตั้งแต่เมื่อใด?
8833 2553/10/21 วิทยาการกุรอานคำถามนี้ไม่มีคำตอบแบบสั้น โปรดเลือกปุ่มคำตอบที่สมบูรณ์
-
อัลกุรอานเป็นความมหัศจรรย์ในสามลักษณะ : ก.คำ, ข. เนื้อหา, ค.ผู้นำอัลกุรอานมาเผยแผ่ และทั้งสามลักษณะบ่งบอกว่าอัลกุรอานมาจากพระเจ้าได้เพียงมากน้อยเพียงใด ?
8407 2553/10/11 วิทยาการกุรอานคำถามนี้ไม่มีคำตอบแบบสั้น โปรดเลือกปุ่มคำตอบที่สมบูรณ์
-
อัล-กุรอาน, คือปาฏิหาริย์สุดท้ายที่พระเจ้าทรงประทานมา และความมหัศจรรย์ของ อัลกุรอานคืออะไร ?
17493 2553/10/11 วิทยาการกุรอานสำหรับความมหัศจรรย์ของกุรอาน ถูกอธิบายไว้ 3 ลักษณะ : มหัศจรรย์ด้านวาจา, มหัศจรรย์ในแง่ของเนื้อหา และมหัศจรรย์ในทัศนะของผู้นำอัลกุรอานมา1 ) มหัศจรรย์ด้านวาจาของกุรอานถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนก. มหัศจรรย์ด้านว